ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

90377 เซดนา

90377 เซดนา (อังกฤษ: Sedna, เสียงอ่าน: /?s?dn?/) เป็นดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ในบริเวณส่วนนอกของระบบสุริยะ ในปี พ.ศ. 2558 เซดนาอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 86 หน่วยดาราศาสตร์ จากดวงอาทิตย์ ซึ่งอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูนถึงสามเท่า กระบวนการสเปกโทรสโกปีได้ให้ผลออกมาว่าพื้นผิวของเซดนามีลักษณะคล้ายกับวัตถุพ้นดาวเนปจูนอื่นๆ บางดวง โดยประกอบด้วยน้ำ มีเทน และไนโตรเจนแข็งกับโทลีนเป็นส่วนใหญ่ ผิวของดาวเป็นหนึ่งในผิวดาวที่มีสีแดงมากที่สุด เซดนาเป็นวัตถุที่เหมือนจะเป็นดาวเคราะห์แคระ

วงโคจรส่วนใหญ่ของเซดนาอยู่ไกลออกจากดวงอาทิตย์ไปมากกว่าตำแหน่งปัจจุบัน ซึ่งคาดว่าตำแหน่งที่ไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุดจะอยู่ห่างออกไปถึง 937 หน่วยดาราศาสตร์ (31 เท่าของระยะของดาวเนปจูน) ทำให้มันเป็นวัตถุหนึ่งที่ไกลที่สุดในระบบสุริยะ นอกเหนือจากดาวหางคาบยาว[a][b]

เซดนามีวงโคจรที่ยาวและยืดเป็นพิเศษ ทำให้มันต้องใช้ระยะเวลากว่า 11,400 ปีถึงจะโคจรครบหนึ่งรอบ และที่ตำแหน่งใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด คือ 76 หน่วยดาราศาสตร์ จะช่วยให้เราสามารถศึกษาต้นกำเนิดของมันได้ ศูนย์ดาวเคราะห์น้อยได้จัดเซดนาให้อยู่ในแถบหินกระจาย ซึ่งเป็นกลุ่มของวัตถุที่มีวงโคจรยืดยาวออกไปไกลเนื่องด้วยแรงโน้มถ่วงจากดาวเนปจูน ถึงกระนั้น การจัดให้เซดนาอยู่ในแถบหินกระจายก็ยังเป็นข้อถกเถียง เพราะตำแหน่งที่ใกล้ที่สุดของเซดนา ก็ยังคงอยู่ห่างจากดาวเนปจูนออกไปมากเกินกว่าที่จะมีผลกระทบต่อกันได้ ทำให้นักดาราศาสตร์บางคนเชื่อว่าเซดนาเป็นวัตถุหนึ่งในเมฆออร์ตชั้นใน แต่บางคนก็เชื่อว่าเซดนามีวงโคจรที่ยืดยาวแบบนี้เนื่องด้วยดาวฤกษ์ที่เฉียดผ่านเข้ามาใกล้ บางทีอาจเป็นหนึ่งในดาวของกระจุกดาวของดวงอาทิตย์ตอนเกิด (กระจุกดาวเปิด) หรือมันอาจถูกจับยึดโดยระบบดาวเคราะห์อื่น สมมติฐานอีกอย่างหนึ่งเสนอว่า วงโคจรของมันได้รับผลกระทบจากดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ดวงหนึ่งที่พ้นวงโคจรดาวเนปจูน

นักดาราศาสตร์ ไมเคิล บราวน์ ผู้ค้นพบเซดนาและดาวเคราะห์แคระอีริส เฮาเมอา และมาคีมาคี คิดว่าเซดนาเป็นวัตถุพ้นดาวเนปจูนในปัจจุบันที่สำคัญที่สุดในทางวิทยาศาสตร์ เพราะว่าการทำความเข้าใจในวงโคจรที่ไม่เสถียรของมัน จะทำให้เราเข้าใจการวิวัฒนาการของระบบสุริยะมากขึ้น

เซดนา (หรือในชื่อเก่า คือ 2003 VB12) ถูกค้นพบโดย ไมเคิล อี. บราวน์, แชด ทรูคีโล และ เดวิด แรบินโนวิตซ์ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 การค้นพบเป็นส่วนหนึ่งของการสำรวจซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2544 ด้วยกล้องโทรทรรศน์ซามูเอลออสชิน ที่หอดูดาวพาโลมาร์ ใกล้กับแซนดีเอโก รัฐแคลิฟอร์เนีย ใช้กล้องความชัด 160 เมกะพิกเซลของเยล ในวันนั้นวัตถุถูกตรวจพบว่าเคลื่อนที่ไปได้ 4.6 ลิปดา โดยใช้เวลา 3.1 ชั่วโมงเมื่อเทียบกับดาวฤกษ์ ซึ่งทำให้ประมาณได้ว่าวัตถุนั้นอยู่ห่างออกไปประมาณ 100 หน่วยดาราศาสตร์ การสำรวจต่อมาโดยใช้กล้องโทรทรรศน์สมาร์ทที่หอดูดาวนานาชาติ-อเมริกันเซร์โรโตโลโล ในประเทศชิลี พร้อมกับใช้กล้องโทรทรรศน์จากฮาวาย พบว่าวัตถุนั้นเคลื่อนที่ไปตามวงโคจรที่เยื้องมาก ภายหลังวัตถุนั้นถูกกลับมาตรวจสอบอีกครั้งผ่านภาพเก่าๆ ที่ถูกถ่ายได้โดยกล้องโทรทรรศน์ซามูเอลออสชิน และภาพจากสมาคมการตามหาดาวเคราะห์น้อยใกล้โลก ตำแหน่งในอดีตจากภาพเหล่านี้ ช่วยให้คำนวณหาวงโคจรของดาวดวงนี้ได้ดียิ่งขึ้น

ไมก์ บราวน์ ได้เสนอชื่อเซดนา ซึ่งตั้งตามเทพีแห่งท้องทะเลของชาวอินุต ผู้ซึ่งอาศัยอยู่ ณ ก้นของมหาสมุทรอาร์กติก เนื่องจากวัตถุที่ค้นพบใหม่นั้นมีอุณหภูมิพื้นผิวต่ำมาก ไมเคิล บราวน์ยังเสนอต่อศูนย์ดาวเคราะห์น้อยของสหพันธ์ดาราศาสตร์สากลว่าวัตถุใดๆที่จะถูกค้นพบในอนาคต ถ้าอยู่ในบริเวณเดียวกับเซดนา ควรตั้งชื่อตามสิ่งที่อยู่ในเทพปกรณัมอาร์กติก ทีมผู้ค้นพบได้ตีพิมพ์ชื่อเซดนา ก่อนที่มันจะได้รับชื่ออย่างเป็นทางการเสียอีกไบรอัน มาร์สเดน ผู้อำนวยการศูนย์ดาวเคราะห์น้อย กล่าวว่าการทำเช่นนี้เป็นการละเมิดพิธีสาร และอาจมีนักดาราศาสตร์ของสหพันธ์ดาราศาสตร์สากลโต้แย้งได้ ถึงกระนั้น ไม่มีข้อคัดค้านใดๆ ต่อชื่อนี้เลย และไม่มีชื่ออื่นที่ถูกเสนอขึ้นมา ในที่สุดการประชุมของคณะกรรมการร่างชื่อวัตถุขนาดเล็กก็ยอมรับชื่อ "เซดนา" ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 และยังถือว่า ในกรณีที่น่าสนใจเดียวกันนี้ ยังอาจอนุญาตให้มีการตั้งชื่อก่อนที่จะได้รับชื่ออย่างเป็นทางการ

เซดนาเป็นวัตถุที่มีคาบการโคจรที่ยาวที่สุดในระบบสุริยะ[b] ซึ่งคำนวณแล้ว อยู่ที่ 11,400 ปี[c] วงโคจรของมันมีความเยื้องสูงมาก ด้วยระยะห่างจากดวงอาทิตย์ไกลที่สุดอยู่ที่ 937 หน่วยดาราศาสตร์ และใกล้ที่สุดอยู่ที่ 76 หน่วยดาราศาสตร์ โดยตำแหน่งที่ใกล้ที่สุดของเซดนา อยู่ไกลกว่าของวัตถุอื่นๆในระบบสุริยะ จนกระทั่งการค้นพบ 2012 VP113 เมื่อเซดนาถูกค้นพบนั้น มันอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 89.6 หน่วยดาราศาสตร์ และกำลังเคลื่อนที่เข้าใกล้จุดใกล้ดวงอาทิตย์ และกลายเป็นวัตถุที่ไกลที่สุดในระบบสุริยะเท่าที่สำรวจพบ ภายหลัง อีริสได้ถูกตรวจพบโดยวิธีเดียวกันที่ระยะห่าง 97 หน่วยดาราศาสตร์จากดวงอาทิตย์ มีเพียงดาวหางคาบยาวบางดวงเท่านั้นที่มีคาบโคจรมากกว่าของเซดนา และยากค้นพบมาก เว้นแต่มันจะเคลื่อนเข้ามาในระบบสุริยะชั้นใน ถึงแม้ว่าเซดนาจะอยู่ ณ ตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดในช่วงกลางปี พ.ศ. 2619[d] ดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนเซดนานั้น ก็ยังคงมีขนาดเท่าปลายเข็ม ซึ่งสว่างกว่าดวงจันทร์ตอนเต็มดวง 100 เท่า (เมื่อเทียบกับโลกแล้ว ดวงอาทิตย์สว่างกว่าตอนดวงจันทร์เต็มดวง 400,000 เท่า) และดวงอาทิตย์ยังอยู่ไกลเกินกว่าที่จะเห็นรูปร่างได้

เมื่อค้นพบครั้งแรกนั้น เซดนาถูกคาดว่าจะมีคาบหมุนรอบตัวเองที่ยาวมากๆ (20 ถึง 50 วัน) เนื่องจากมันอาจถูกดึงให้หมุนช้าลงโดยระบบดาวเคราะห์บางระบบที่อยู่บริเวณนั้น เช่นเดียวกับ แครอน ดาวบริวารของดาวพลูโต การสำรวจโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในปี พ.ศ. 2547 ไม่พบอะไรเลย[e] และจากผลการสำรวจจากกล้องโทรทรรศน์เอ็มเอ็มที ก็ทำให้คำนวณได้ว่า เซดนาหมุนโดยใช้ระยะเวลาสั้นกว่าที่คาดไว้มาก ประมาณ 10 ชั่วโมง ซึ่งค่อนข้างปกติสำหรับดาวขนาดอย่างเซดนา

เซดนาจะอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดประมาณปี พ.ศ. 2618–2619 การเข้าใกล้ครั้งนี้จะเป็นโอกาสที่จะสำรวจดาว ซึ่งจะไม่มีโอกาสอีกจนกว่า 12,000 ปีข้างหน้า ถึงแม้เซดนาจะมีรายชื่อในเว็บไซต์การสำรวจระบบสุริยะของนาซา แต่ปัจจุบันยังไม่มีแผนการใดๆ เพื่อสำรวจเซดนา มันถูกคำนวณออกมาว่าจะใช้เวลา 24.48 ปี ในการเดินทางจากโลกถึงเซดนา โดยใช้แรงโน้มถ่วงของดาวพฤหัสบดีช่วยเหวี่ยง คาดว่าวันปล่อยยานอาจจะเป็น 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2576 หรือ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2589 เมื่อยานไปถึงเซดนาจะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 77.27 และ 76.43 หน่วยดาราศาสตร์ ตามลำดับ

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "discovery" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "DES" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "jpldata_2012_VP113" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "spitzer" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "pr200510" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Tegler" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "AstDys2003" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Brown-dplist" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Tancredi2008" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Grundy2005" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Trujillo2005" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Sheppard2010" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Emery2007" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Triton" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Hussman2006" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Swiss" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "LykDyn" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "SternAJ2005" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "scattered" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Brown2004AAS205" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "PlanetarySociety" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Morbidelli2004" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Kenyon2004" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "challenge" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Gomez2006" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "lykawka" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "sisters" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Cruttenden" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Hills1984" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Planck-NemesisMyth" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Matese2006" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Schwamb" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "MPC" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Gladman" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Jewitt2006" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "DES_Elliot2006" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Brown" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "stern" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้าอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "Kaib2009" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน Transmission Control Protocol อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล แพ็กเกตสวิตชิง ดาวเทียมสื่อสาร การพูด การสื่อสารภายในบุคคล การประชาสัมพันธ์ การโฆษณาชวนเชื่อ การตลาด การสื่อสารระหว่างบุคคล ไอแซค อสิมอฟ เขามาจากดาวอังคาร อินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน สโลว์สเต็ป สัญกรณ์โอใหญ่ พรีไบโอติกส์ ป. อินทรปาลิต การเวก (พืช) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สีเทา สีขาว สีน้ำตาล ม่วง เขียว น้ำเงิน สีกากี ชมพู ระบบสี RGB SVG เบราว์เซอร์ แม่สีแสง CSS RGB เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เว็บจีแอล จาวาสคริปต์ Font family (HTML) ซีเอสเอส สไตล์ชีต ด็อม ซี-เอชทีเอ็มแอล เอกซ์เอชทีเอ็มแอล เอชทีเอ็มแอล5 COLOR ISO 11940 ธอง แม่กุญแจสีม่วง ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก แม่กุญแจสีทอง ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า เคนต์ โลตัส อีลิส โรวัน แอตคินสัน พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก พยัคฆ์ร้ายทวงแค้นระห่ำโลก จอมมฤตยู 007 เอียน เฟลมมิง พยัคฆ์ร้ายสะบัดลาย โคเวนทรี ระบบส่งกำลัง โปรตอน เอ็กซ์โซร่า โปรตอน วาจา โปรตอน เพอร์โซนา โปรตอน เพรเว่ นิตยสารฟอร์บส Thai language Japanese language Polish language Italian language Dutch language Hindi 2007 พระแม่กาลี มหาธิการิณี

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23944